ทฤษฎีการเรียนรู้


ลำดับที่
ทฤษฎี
แนวคิด
กุญแจสำคัญ
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
1
พาฟลอฟ
การวางเงื่อนไขแบบคลาสิก
การตอบสนองเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น
ก่อนการวางเงื่อนไข
วิชาภาษาไทย (cs) > เฉยๆ
ครูทำโทษ (UCS) > ไม่ชอบ UCR
ขั้นวางเงื่อนไข
วิชาภาษาไทย + ครูทำโทษ > ไม่ชอบ
หลังการวางเงื่อนไข
วิชาภาษาไทย ( CS) > ไม่ชอบ (CR)
2
วัตสัน
การวางเงื่อนไขแบบคลาสซิก
ทุกๆพฤติกรรมต่างๆของมนุษย์จะเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
คนเราเกิดมาจะมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่ติดตัวมาโดยไม่ต้องเรียนรู้อยู่ 3 อย่าง คือ
-       ความกลัว
-       ความโกรธ
-       ความรัก
เหตุ                                                ผล
วิชาเคมี > เฉยๆ
ครูสุ่มให้ตอบคำถาม > เด็กไม่ชอบ, ไม่เป็น
วิชาเคมี+ครูสุ่มให้ตอบคำถาม > เด็กไม่ชอบ
วิชาเคมี > เด็กไม่ชอบ
การวางเงื่อนไข
วิชาเคมี > เด็กไม่ชอบ
ครูให้กำลังใจ, ให้คำชม > เด็กชอบ
วิชาเคมี ครูให้กำลังใจ, ให้คำชม >เด็กชอบ
วิชาเคมี > เด็กชอบ
ธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง
การเรียนรู้มี 2 step
Step1 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหาอินทรีย์จะเจอปัญหาโดยการลองผิดลองถูก
Step2 เมื่ออินทรีย์เจอปัญหาเหมือนเดิมอีกครั้ง อินทรีย์จะแก้ปัญหาโดยการลองผิดลองถูก เชื่อมโยงสิ่งเร้ากับการตอบสนอง

ครูให้เด็กต่อจิ้กซอสัตว์ 9ชิ้น เพื่อแสดงพฤติกรรมลองผิดลองถูก เด็กลองผิดลองถูกใช้เวลานานกว่าจะเสร็จ
ทดลองครั้งที่ 2 เด็กสามารถต่อจิ้กซอเร็วกว่าครั้งที่ 1
ทดลองครั้งที่ 3 เด็กสามารถต่อจิ้กซอเร็วกว่าครั้งที่ 1 และ 2
ทดลองครั้งที่4  เด็กเกิดการเรียนรู้และจดจำสามารถต่อจิ้กซอได้รวดเร็ว
4
สกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ
การกระทำใดๆถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น การรกระทำที่ไม่เสริมแรง มีแนวโน้มที่จะกระทำนั้นๆจะลดลงและค่อยๆหายไป
ขั้นที่ 1 ก่อนการเรียนรู้
(R)ตอบคำถาม> (SR) คำชมเชย
ขั้นที่ 2 หลังการเรียนรู้
(S)คำถาม + (SR) คำชมเชย (R) ตอบคำถาม
(S)คำถาม (R) ตอบคำถาม +(SR) คำชมเชย

5
เบนดูรา
ทฤษีการเรียนรู้ทางสังคมเชิงพฤติกรรม
การเรียนร็ของมนุษย์อ่อนมากเป็นการเรียนรู้โยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวอยู่เสมอ เป็นกระบวนการทางการรู้ศิลหรือพุทธปัญญา
นักเรียนคนหนึ่งเรียนเก่งและได้รับเกียรตินิยม นักเรียนคนอื่นๆพยายามตั้งใจเรียนให้ได้เกรดีๆด้วยเพื่อคาดหวังว่าจะได้รับรางวัล ส่วนักเรียนคนหนึ่งถูฏทำโทษเนื่องจากสูบบุหรี นักเรียนคนอื่นๆจะไม่ปฏิบัติตามเพราะกลัวถูกทำโทษ
6
เกสตัลก์
เออร์ไทเมอร์โคลเลอร์คอฟฟ่า เอวัน
การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนน้อยนั้นจะต้องเด็กจากประสบการณ์เดิมและการเรียนรู้ย่อยเกิดขึ้น 2ลักษณะ
1 การเรียนรู้ เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5  ส่วน คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
2 การหยั่งเห็น การเกิดความคิกแวบขึ้นมาทันทีทันใดในขณะที่ประสบปัญหาโดยมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นขั้นตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้
ครูเอมสอนเด็กๆให้รู้จักสัตว์ต่างๆที่เด็ฏๆรู้จัก หลังจากนั้นครูเอมสอนเกี่ยวกับสัตว์ต่างๆให้เด็กรู้จักมากขึ้น